ของจังหวะแห่งการก้าวเดินขอ
หากเปรียบได้กับวันเวลา
ที่มีนาฬิกาชีวิตเป็นเครื่อ
จะทำให้เราค้นพบว่า
บางช่วงจังหวะของชีวิต
คือ ช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดของก
นาฬิกาชีวิต
ของคนเราแตกต่างกัน
เหมือนกับช่วงกาลเวลาที่ผ่า
วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา
นาฬิกาชีวิตของคนเราก็เช่นเ
ช่วงวัยเด็ก
อาจเปรียบได้กับช่วงเวลา ๐๖.๐๐ น.
ยังเช้าอยู่ รอรับรุ่งอรุณแสงทองแห่งชีว
อยู่ในช่วงสดชื่น สดใส
ช่วงวัยรุ่น
อาจเปรียบได้กับช่วงเวลา ๐๘.๐๐ น.
ช่วงตะวันทอแสงอ่อน
เป็นวัยที่สนุกสนาน ร่าเริง
มักสนใจอยู่กับเพื่อน กับความสวยงามของตนเอง
ช่วงวัยผู้ใหญ่
อาจเปรียบได้กับช่วงเวลา ๑๒.๐๐ น.
เที่ยงวันกันเอง ครึ่งหนึ่งของชีวิต
ที่ต้องแบกรับภาระต่าง ๆ ในชีวิต
กำลังร้อนแรง สู้อดทนต่อทุก ๆ สิ่ง
ผ่านร้อน ผ่านหนาว ผ่านประสบการณ์ชีวิตนานัปกา
เป็นวัยที่ต้องสร้างหลักฐาน
ช่วงวัยชรา สู่วัยสูงค่าราคาคน
อาจเปรียบได้กับช่วงเวลา ๑๘.๐๐ น. หรือ ๖ โมงเย็น
ตะวันเริ่มลาลับขอบฟ้า
หมดเรี่ยวแรง เข้าสู่วัยพักผ่อนหย่อนใจ
เพื่อหันกลับมาเริ่มต้น
พัฒนาคุณธรรมในจิตใจ
เปรียบเหมือนพระอาทิตย์ที่ล
ดวงจันทรา และหมู่ดาวทอแสงระยิบระยับ
งามสง่าในยามค่ำคืน
นาฬิกาชีวิต
ในช่วงยามราตรี
ที่ผ่านประสบการณ์ชีวิตมาแต
ของทุกเพศทุกวัย
ล้วนมีจุดเริ่มต้นที่สดใส
แต่จุดจบของแต่ละคน..อาจมีช
นาฬิกาชีวิตของเรา
จะเดินได้ต่อไปหรือไม่
ขึ้นอยู่ที่ถ่านไฟเก่า คือ บุญกุศลที่เคยทำมา
และถ่านไฟใหม่ คือ
การได้เกิดมาสร้างคุณงามควา
ถ่านไฟสองก้อนนี้
จะเป็นเครื่องบ่งบอกว่า
นาฬิกาชีวิตของเราจะเป็นอย่
สุจริตกาย เจริญวัย....สุจริตใจ เจริญสุข
๑. สุจริตกาย ความบริสุทธิ์ทางกาย ฯ
๒. สุจริตวาจา ความบริสุทธิ์ทางวาจา ฯ
๓. สุจริตใจ ความบริสุทธิ์ทางใจ ฯ วิ.วิวฑฺฒนเมธี ภิกฺขุ
๑. สุจริตกาย ความบริสุทธิ์ทางกาย ฯ
๒. สุจริตวาจา ความบริสุทธิ์ทางวาจา ฯ
๓. สุจริตใจ ความบริสุทธิ์ทางใจ ฯ วิ.วิวฑฺฒนเมธี ภิกฺขุ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
สวัสดีค่ะ